An Unbiased View of ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

วินิจ ผาเจริญ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ภัทรชัย อุทาพันธ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน กรวิทย์ เกาะกลาง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี สุรชัย พุดชู นักวิชาการอิสระ บทคัดย่อ

นิพนธ์ พัวพงศกร รำลึกถึง ม.ร.ว.อคิน รพีพัฒน์ นักสังคมวิทยา-มานุษยวิทยาคนสำคัญของไทย ผ่านบทเรียนภาคสนามจากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลงานวิจัย

  ศูนย์บริการวิชาการเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

นอกจากปัญหาเรื่องความรู้และคุณวุฒิการศึกษาของครูที่ต้องการแนวนโยบายการแก้ไปขปัญหาที่ต่อเนื่องและยั่งยืนแล้ว ครูนกมองว่าสิ่งที่จะทำให้ปัญหาถูกแก้ไขได้ตรงความต้องการ และยั่งยืน ต้องเริ่มจากวิสัยทัศน์ของคนทำงาน มีการวางแผนยุทธการที่มีความต่อเนื่องในการดำเนินงานแม้มีการเปลี่ยนผ่านผู้บริหาร/ผู้บังคับบัญชา/บุคลากรในโรงเรียน และมีนโยบายที่สามารถแก้ปัญหาของคนทำงานได้จริง จะทำให้การขับเคลื่อนการดำเนินงานไปได้อย่างราบรื่นเห็นเป้าหมายการพัฒนาที่ชัดเจนโดยให้ผลงานการดำเนินงานเป็นเครื่องพิสูจน์

“ที่ผมสนใจทำเรื่องนี้ ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา เพราะตระหนักถึงปัญหานี้มาโดยตลอดชีวิตการทำงาน ไม่ว่าจะเป็นพื้นที่ยากลำบากในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ หรือพื้นที่ใกล้เมืองอย่างจังหวัดนครนายก ล้วนประสบปัญหาความเหลื่อมล้ำ แต่อาจจะแตกต่างในมิติที่มาของปัญหาที่มีรายละเอียดแตกต่างกันออกไป ตอนมาเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดนครนายกซึ่งเป็นช่วงสามปีสุดท้ายของชีวิตราชการที่แอบคิดว่าจะสบายๆ แต่สุดท้ายเราพบว่าในจังหวัดมีแม่วัยใสและเด็กเดินยา มีปัญหาพ่อแม่แยกทางจำนวนมาก

ทุนพัฒนาอาชีพและนวัตกรรมที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน

ทุนการศึกษา ส่งน้องเรียน สร้างเด็กดี

ทุนพัฒนาอาชีพและนวัตกรรมที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน

สภาพที่อยู่อาศัยชำรุดทรุดโทรมหรือไม่ บ้านทำจากวัสดุพื้นบ้านอย่างไม้ไผ่ ใบจาก ของเหลือใช้ หรือเป็นบ้านเช่าหรือไม่ 

ตัวเลขดังกล่าวอาจดูเป็นสัญญาณที่ดี แต่ถ้ามองให้ลึกไปกว่านั้น เราจะพบว่า เด็กจำนวนมากยังถูกกีดกันออกจากระบบการศึกษา หรือได้เรียนแต่ไปไม่ถึงปลายทาง ทั้งหมดนี้สะท้อนว่า แม้สถานการณ์การศึกษาดูเหมือนจะดีขึ้น แต่ความเหลื่อมล้ำไม่ได้หมดไป และความเสมอภาคยังไม่ได้เกิดขึ้นจริงกับทุกคน อัตราการเข้าเรียนที่เพิ่มขึ้นจึงเป็นเพียงยอดภูเขาน้ำแข็งที่ซ่อนปัญหามากมายเอาไว้ข้างใต้ และทิ้งโจทย์ใหญ่ให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะในประเทศที่ยังมีปัญหาเรื่องระบบการศึกษา ต้องนำมาขบคิดกันต่อว่า จะทำอย่างไรให้ระบบการศึกษาเท่าเทียมและเสมอภาคอย่างแท้จริง รวมถึงจะปรับระบบการศึกษาอย่างไรให้เข้ากับโลกยุคปัจจุบันด้วย

ความยากจนที่ (อาจจะ) แพร่กระจายทุกหย่อมหญ้า

สตีเฟน วิลท์เชียร์: มนุษย์กล้องถ่ายรูปผู้วาดโลกจากความจำ

สืบเนื่องมาจากปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ตลอดจนการขาดแคลนแรงงานฝีมือที่มีคุณภาพ ทำให้การพัฒนาเศรษฐกิจ และประเทศชาติต้องสะดุด หรือหยุดชะงักไป เนื่องจากตลาดแรงงานไม่สามารถตอบสนองความต้องการในการพัฒนาธุรกิจ และเศรษฐกิจภายในประเทศได้ 

บทสรุปการค้นหา มอบอนาคตทางการศึกษาอย่างเสมอภาค

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

Comments on “An Unbiased View of ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา”

Leave a Reply

Gravatar